เถรวาทในเอเชียอาคเนย์: ศิลปะ สถาปัตยกรรม และวัฒนธรรม

Draft_Poster_RGB
ใบปิด: กุลพัชร์ เสนีวงศ์ ณ อยุธยา

ลงทะเบียนล่วงหน้า (ไม่มีค่าใช้จ่าย) ได้ ที่นี่
สอบถามข้อมูลเพิ่มเติม: trf.theravada [at] gmail [dot] com

การประชุมนี้เป็นส่วนหนึ่งของการประชุมวิชาการระดับชาติ
“สถาปัตย์กระบวนทัศน์” และ การประชุมวิชาการระดับนานาชาติ
“สถาปัตย์ปาฐะ” || การประชุมวิชาการวิจัย-สร้างสรรค์:
สรรพศาสตร์ทางสถาปัตยกรรม จัดโดย คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร และ ภาคีฯ

ดูรายละเอียดเกี่ยวกับการประชุมฯ ทั้งหมดได้ ที่นี่ หรือดาวน์โหลดไฟล์ pdf ของกำหนดการทั้งหมดได้ ที่นี่

โครงการเมธีวิจัยอาวุโส สกว. ศาสตราจารย์ ดร.เสมอชัย พูลสุวรรณ ร่วมกับ
คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร
ขอเชิญผู้สนใจร่วมประชุมการนำเสนอผลงานประจำปี

เถรวาทในเอเชียอาคเนย์:
ศิลปะ สถาปัตยกรรม และวัฒนธรรม

วันจันทร์ที่ 19 และอังคารที่ 20 ธันวาคม 2559
ณ ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร (องค์การมหาชน)


วันจันทร์ที่ 19 ธันวาคม 2559

08.30-09.30
ลงทะเบียน | พิธีเปิด

09.30-10.30 น.
ปาฐกถา (ห้องประชุม ชั้น 4)
“การสถาปนาศูนย์กลางศักดิ์สิทธิ์แห่งโลกพุทธศาสนา:
กรณีสัญลักษณ์นิยมในจิตรกรรมพุทธศาสนาสมัยพุกาม”

ศ.ดร.เสมอชัย พูลสุวรรณ
คณะสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

การนำเสนอบทความ (ห้องมัลติมีเดีย ชั้น 2)

13.30-14.30 น.
รูปแบบทางพื้นที่ของตำนานพระเจ้าเลียบโลก:
บทวิเคราะห์ตำนานด้วยระบบสารสนเทศทางภูมิศาสตร์

  • ผศ.สุดแดน วิสุทธิลักษณ์
    คณะสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
  • ผศ.วัลลภ ทองอ่อน
    คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์
    มหาวิทยาลัยราชภัฏกำแพงเพชร

ร่วมให้ความเห็นโดย
ศ.พิเศษ ดร.ประคอง นิมมานเหมินท์
ราชบัณฑิตและอดีตอาจารย์ประจำภาควิชาภาษาไทย
คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

14.30-15.30 น.
พลังสตรีกับพุทธศาสนานิกายเถรวาทในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้:
กรณีศึกษาบทบาทของแม่ชีกับสังคมในประเทศเมียนมาร์

รศ.ดร.ตรีศิลป์ บุญขจร
ผู้เชี่ยวชาญประจำภาควิชาภาษาไทย
คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี

ร่วมให้ความเห็นโดย
อาจารย์แม่ชีวิมุตติยา (รศ.ดร.สุภาพรรณ ณ บางช้าง)
ประธานหอพระไตรปิฎกนานาชาติ คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

15.30-16.30 น.
การถ่ายเทรามัญนิกายจากรามัญประเทศสู่สยามประเทศ
และธรรมยุติกนิกายจากประเทศสยามสู่ประเทศพม่า

องค์ บรรจุน
นักศึกษาปริญญาเอก วิทยาลัยสหวิทยาการ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

ร่วมให้ความเห็นโดย
รศ.สุเชาวน์ พลอยชุม
อดีตผู้อำนวยการสถาบันภาษาศาสตร์และวัฒนธรรมราชนครินทร์
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์


วันอังคารที่ 20 ธันวาคม 2559

การนำเสนอบทความ (ห้องมัลติมีเดีย ชั้น 2)

08.30-09.30 น.
พัฒนาการผังเขตพุทธาวาส วัดใหญ่สุวรรณาราม
ผศ.ตะวัน วีระกุล
คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร

ร่วมให้ความเห็นโดย
ผศ.ดร.โชติมา จตุรวงค์
คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร

09.30-10.30 น.
ความสัมพันธ์สยามและกัมพูชา: ภาพสะท้อนผ่านสถาปัตยกรรมพระอุโบสถวัดดำเรยซอ
เขตพระตะบอง

  • อิสรชัย บูรณะอรรจน์
    นักศึกษาโครงการปริญญาเอกกาญจนาภิเษก สกว.
    หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาสถาปัตยกรรมพื้นถิ่น
    คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร
  • ผศ.ปองพล ยาศรี
    คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร

ร่วมให้ความเห็นโดย
ผศ.ดร.กังวล คัชชิมา
คณะโบราณคดี มหาวิทยาลัยศิลปากร

10.30-11.30 น.
โลกกายภาพ | โลกนามธรรม: การซ้อนทับความหมายในพิธีเทศนาเวสสันดรชาดก
ชุมชนบ้านแง่ก เชียงตุง รัฐฉาน เมียนมาร์

อาจารย์ ดร.เกรียงไกร เกิดศิริ
คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร

ร่วมให้ความเห็นโดย
ศ.เกียรติคุณอรศิริ ปาณินท์
เมธีวิจัยอาวุโส สกว.
คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

11.30-12.30 น.
“ตลาดอาริยะ ตลาดเพื่อคนจน”: สินค้า บุญ กับชีวิตทางเศรษฐกิจของชาวอโศก
บัณฑิต ศิริรักษ์โสภณ
นักศึกษาปริญญาโท คณะสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

ร่วมให้ความเห็นโดย
ผศ.ดร.ฉวีวรรณ ประจวบเหมาะ
อดีตอาจารย์ประจำคณะสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

13.30-14.30 น.
พุทธศาสนากับการเมืองแห่งอัตลักษณ์ชาติพันธุ์ข้ามรัฐในเขตลุ่มน้ำโขง
ผศ.ดร.พิเชฐ สายพันธ์
คณะสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

ร่วมให้ความเห็นโดย
รศ.สุมิตร ปิติพัฒน์
อดีตอาจารย์ประจำคณะสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

14.30-15.30 น.
“บรู” : การปรับตัวในบริบทพุทธศาสนาและการประกอบสร้างความเป็นชาติพันธุ์
อาจารย์ ดร.เกียรติศักดิ์ บังเพลิง
คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม

ร่วมให้ความเห็นโดย
ผศ.ดร.อนุสรณ์ อุณโณ
คณะสังคมวิทยาและมานุษยวิทยามหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

15.30-16.30 น.
อธิบายโครงการฯ และสรุปการนำเสนอผลงานประจำปี
ศ.ดร.เสมอชัย พูลสุวรรณ
หัวหน้าโครงการฯ