บริการวิชาการ

คณะสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา ส่งเสริมบริการวิชาการแก่สาธารณะ นอกจากผลงานตีพิมพ์ของคณาจารย์ในคณะฯ แล้ว ยังสนับสนุนการตีพิมพ์เผยแพร่ วารสารสังคมวิทยามานุษยวิทยา และจัดกิจกรรมทางวิชาการหลากหลายรูปแบบอย่างสม่ำเสมอ รวมทั้งโครงการ "สนาม" เพื่อการเปิดพื้นที่แลกเปลี่ยนทางวิชาการออนไลน์อีกด้วย

“ศาสตร์” กับ “สหวิทยาการ”: กระบวนทัศน์และความท้าทายในโลกวิชาการสมัยใหม่

ปาฐกถาเนื่องในโอกาสครบรอบ 50 ปี การก่อตั้งคณะสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ โดย
ศาสตราจารย์ ดร. เสมอชัย พูลสุวรรณ

วารสารสังคมวิทยามานุษยวิทยา ปีที่ 33 ฉบับที่ 1 (มกราคม-มิถุนายน 2557)

ฉบับ “ชีวิตและการต่อรองของคนบนฐานทรัพยากร” บรรณาธิการโดย อนุสรณ์ อุณโณ

วารสารสังคมวิทยามานุษยวิทยา ปีที่ 32 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม-ธันวาคม 2556)

ฉบับ “โลก คน ไข้” บรรณาธิการโดย พรทิพย์ เนติภารัตนกุล

วารสารสังคมวิทยามานุษยวิทยา ปีที่ 31 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม-ธันวาคม 2555)

ภาพปก: วัลลภ ทองอ่อน วารสารสังคมวิทยามานุษยวิทยา by คณะสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivs 3.0 Unported License. ชาติพันธุ์สภาวะ ข้ามพรมแดน-ข้ามโลก บรรณาธิการแถลง [pdf] พิเชฐ สายพันธ์ บทความ Notion of Ethnicity as Cultural Politics: State, Ethnology, and the Zhuang [pdf] Somrak Chaisingkananont Department of Southeast Asian Studies, National University of Singapore รัฐชาติ ชาติพันธุ์ และอัตลักษณ์ไทดำ [pdf] ณรงค์ อาจสมิติ หลักสูตรศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาวัฒนธรรมศึกษา […]

วารสารสังคมวิทยามานุษยวิทยา ปีที่ 31 ฉบับที่ 1 (มกราคม-มิถุนายน 2555)

วารสารสังคมวิทยามานุษยวิทยา ปีที่ 31 ฉบับที่ 1 (มกราคม-มิถุนายน 2555)
ฉบับ “คนในโลกสมัยใหม่”
บรรณาธิการประจำฉบับ: จันทนี เจริญศรี

Bangkok as a “Bush”: preliminary findings on African migrants facing Asia

การบรรยายพิเศษโดย Professor Mamadou Diawara วันอังคารที่ 1 เมษายน 2557 เวลา 13.30-16.30 น. ณ ห้องบรรยายโครงการปริญญาเอก คณะสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา ชั้น 4 อาคารคณะสังคมสงเคราะห์ศาสตร์ มธ. ท่าพระจันทร์

ABSTRACT: Refuge and Emplacement through Buddhism: Karen Refugees and Religious Practices in a Northwestern Border Town of Thailand

Prasert Rangkla. 2014. “Refuge and Emplacement through Buddhism: Karen Refugees and Religious Practices in a Northwestern Border Town of Thailand” in Sin Wen Lau, Nanlai Cao (eds.). Religion and Mobility in a Globalising Asia: New Ethnographic Explorations. London: Routledge.

รายงานสรุปเนื้อหาการบรรยายพิเศษ ชีวิตทางสังคมของเกษตรอินทรีย์และการเมืองเรื่องอาหารในประเทศไทย

วิทยากร Associate Professor Peter Vandergeest แปลและสรุปความเป็นภาษาไทย โดย อาจารย์ ดร.อัจฉรา รักยุติธรรม บันทึกเรียบเรียงโดย นิรมล ยุวนบุณย์

ประวัติศาสตร์ไทดำ: รากเหง้าวัฒนธรรม-สังคมไทย และเอเชียตะวันออกเฉียงใต้

ยุกติ มุกดาวิจิตร “หนังสือเล่มนี้เป็นผลจากการนั่งอ่านทำความเข้าใจประวัติศาสตร์กลุ่มชาติพันธ์ุหนึ่ง จากมุมมองของพวกเขาเอง จากคำบอกเล่า จากบันทึกของพวกเขาเอง ผมได้แปลเอกสาร 2 ชิ้น ชิ้นหนึ่งเป็นภาษาไทดำ อีกชิ้นหนึ่งเป็นภาษาเวียดนาม แล้วเขียนบทความอธิบายที่มาที่ไปของเอกสารและเนื้อหาของเอกสาร”

รายงานสรุปเนื้อหาการเสวนา จุดไฟในพายุ: สันติภาพชายแดนใต้ภายใต้สถานการณ์ความขัดแย้งทางการเมือง

บันทึกจาการเสวนา จุดไฟในพายุ: สันติภาพชายแดนใต้ภายใต้สถานการณ์ความขัดแย้งทางการเมือง วันอังคารที่ 17 ธันวาคม 2556 จัดโดย ศูนย์ศึกษาสังคมวัฒนธรรมร่วมสมัย (CCSCS) คณะสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์