yukti

กิจกรรมวิชาการ

blog

อาจารย์สาขาสังคมวิทยา

อาจารย์สาขามานุษยวิทยา

อุตสาหกรรมความศักดิ์สิทธิ์

ผมหวังว่าผู้ให้ความรู้จะทำให้ความรู้และกระบวนการเรียนรู้มีค่าในตัวของมันเองเหนือพิธีรับปริญญา และหวังว่าผู้เรียนรู้จะเห็นค่าของความรู้และกระบวนการเรียนรู้เหนือปริญญาและพิธีกรรมที่พวกคุณเข้าร่วมและผ่านพ้นมา

ทำไมยังอ่านงาน Geertz กันอยู่

งานของเกียร์ทซดึงความเป็นมนุษย์ในมิติของการอยู่กับชุดความหมาย อารมณ์ ศิลปะออกมา แล้วนำมาเชื่อมโยงสังคม วัฒนธรรม ขยับสังคมศาสตร์ให้ค่อนไปในทางมนุษยศาสตร์มากขึ้น ทำให้ต้องเข้าใจความซับซ้อนของมนุษย์ด้วยวิธีการทางศิลปะและวรรณกรรมมากขึ้น และยกระดับการถกเถียงเพื่อเข้าใจความหมายทางสังคมไปสู่การถกเถียงทางปรัชญามากขึ้น

ประชามติเรื่องเครื่องแบบนักศึกษา

หากทำ poll ในคราบของ referendum ก็จะกลายเป็นว่าผู้จัดทำทึกทัก เหมาคิด ตู่เอาเองหรือเปล่า ว่าคะแนนจากการหยั่งเสียงมีฐานะที่เป็นทางการเสียขนาดนั้น หากไม่มีความยินยอมพร้อมใจต่อการทำประชามติ จะกลายเป็นการที่ผู้มีอำนาจใช้ “การหยั่งเสียง” มาครอบงำตู่เอาว่าเป็นการทำ “ประชามติ” หรือไม่ จะกลายเป็นการใช้เครื่องมือที่ดูเป็นประชาธิปไตย มารับใช้ระบอบอำนาจนิยมหรือไม่

นโยบายกลุ่มชาติพันธ์ุ / ชนเผ่าพื้นเมือง

บันทึกประกอบการบรรยายในการนำเสนอต่อที่ประชุมแผนแม่บทการพัฒนากลุุ่มชาติพันธ์ุและชนเผ่าพื้นเมือง กระทรวงพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ เมื่อวันที่ 27 พฤษภาคม 2556

สู่สันติภาพในอุษาคเนย์?

บันทึกจากงานสัมมนาวิชาการ “สู่สันติภาพในอุษาคเนย์?: กระบวนการสันติภาพในพม่า มาเลเซีย และจังหวัดชายแดนไทยภาคใต้” วันจันทร์ที่ 29 เมษายน 2556

Occupy Movement = ประชาธิปไตยทางตรง แล้วไง?

บันทึกจากงานถ่ายทอดสดและเสวนา Creative Time Summit จากนิวยอร์ค จัดโดย The Reading Room วันศุกร์ที่ 12 ตุลาคม 2555

มานุษยวิทยา-สังคมวิทยา-ไทยศึกษาเพื่อใคร

ยุกติ มุกดาวิจิตร: “นักมานุษยวิทยาแต่ละคนมีจุดยืนแตกต่างกันไป แต่สำหรับผม มานุษยวิทยาต้องนำมุมมองจากคนสามัญ มาวิจารณ์มุมมองของผู้มีอำนาจ”

เพื่อนบ้านศึกษา: อาณาบริเวณศึกษาแบบใหม่

บทความโดย ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ยุกติ มุกดาวิจิตร ในการประชุมวิชาการอาณาบริเวณศึกษาด้านภูมิภาคอาเซียน ครั้งที่ 2 ประจำปี พ.ศ.2555

เวียดนามในแผนที่ ค.ศ. 1656

แผนที่โบราณ กับ ภูมิศาสตร์การเมืองของดินแดนที่ปัจจุบันเราเรียกกันว่า “เวียดนาม”

Language Ideologies of Ethnic Orthography in a Multilingual State: the case of ethnic Thai orthographies in Vietnam

บทความ “Language Ideologies of Ethnic Orthography in a Multilingual State: the case of ethnic Thai orthographies in Vietnam.” โดย ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ยุกติ มุกดาวิจิตร