ขอเชิญนักศึกษาเข้าร่วมกิจกรรมระหว่างคณะสังคมวิทยาฯ และ Kookmin University
ระหว่างวันที่ 18-20 ส.ค. 59
18 ส.ค. 59 บรรยายวิชาการ
19 ส.ค. 59 การแสดงดนตรีร่วมสมัยไทยและเกาหลี
20 ส.ค. 59 ทัศนศึกษาจังหวัดพระนครศรีอยุธยา
วารสารสังคมวิทยามานุษยวิทยา ปีที่ 32 ฉบับที่ 1 (มกราคม-มิถุนายน 2556)
ฉบับ “อดีต สำคัญไฉน?” บรรณาธิการโดย อุดมลักษณ์ ฮุ่นตระกูล
สังวาลย์มรดกโลกในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ภาคพื้นทวีป
วิทยากร ดร.เกรียงไกร เกิดศิริ
ร่วมแลกเปลี่ยนโดย ดร.เทียมสูรย์ สิริศรีศักดิ์
วันพฤหัสบดีที่ 19 กุมภาพันธ์ 2558 เวลา 13.00-16.00 น.
ห้องบรรยายโครงการปริญญาเอก คณะสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา มธ. ท่าพระจันทร์
การจัดการมรดกวัฒนธรรม กรณีเขตเมืองพระนคร ประเทศกัมพูชา
การบริหารจัดการของ APSARA มีหลายองค์ประกอบที่จะเป็นประโยชน์และสมควรที่ประเทศไทยน่าจะลองรับมาปรับใช้ เพื่อให้การจัดการมรดกวัฒนธรรมของไทย มีการกระจายอำนาจ รวมไปถึงตรวจสอบการทำงานเพื่อสร้างมาตรฐานที่ใกล้เคียงกันได้
มรดกทางวัฒนธรรมที่จับ (แตะ) ต้องไม่ได้
วันอังคารที่ 5 พฤศจิกายน 2556 เวลา 13.00-16.30 น. ห้องประชุมบุญชู โรจนเสถียร ชั้น 3 อาคารอเนกประสงค์ 1 มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ท่าพระจันทร์
อย่าใช้อำนาจรัฐกำกับวัฒนธรรม
วัฒนธรรมเป็นของทั้งชุมชนผู้สร้างและปัจเจกชนผู้ใช้ แสดงออก และร่วมสร้าง ทั้งชุมชนและปัจเจกชนมีสิทธิครอบครอง ใช้ และดัดแปลงวัฒนธรรมของตนเอง ไม่ใช่เรื่องอะไรที่รัฐจะต้องยื่นอำนาจเข้ามาก้าวก่าย รัฐอาจช่วยส่งเสริม ช่วยสนับสนุนให้พัฒนาได้ และนั่นเป็นบทบาทที่ถูกต้องของรัฐ การประกาศกฎหมายแบบนี้ออกมาเขาไม่ได้เรียกการส่งเสริมวัฒนธรรมหรอก เขาเรียกเผด็จการทางวัฒนธรรมต่างหาก
มานุษยวิทยาว่าด้วยการกอบกู้
หากพิจารณาจากลักษณะโทษที่คาดไว้ สิ่งที่ร่าง พรบ. ฉบับนี้ต้องการกอบกู้อาจไม่ได้เป็นมรดกทางวัฒนธรรมและชีวิตของคนที่ไม่สู้มีปากเสียง เท่าๆ กับสถานภาพของชนชั้นนำที่กำลังง่อนแง่นเสียเต็มประดา