รศ.ดร.ยุกติ มุกดาวิจิตร Yukti Mukdawijitra
โครงการบัณฑิตศึกษา
คณะสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
2 ถนนพระจันทร์ แขวงพระบรมมหาราชวัง เขตพระนคร
กรุงเทพฯ 10200
โทรศัพท์: 02-613-2811
โทรสาร: 02-623-5115
moodle (เค้าโครงการเรียนการสอน)
Ph.D. (Anthropology), University of Wisconsin-Madison, USA
M.A. (Anthropology), University of Wisconsin-Madison, USA
สม.ม. (มานุษยวิทยา) มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
ศ.บ. (เศรษฐศาสตร์) มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
ความสนใจทางวิชาการ
มานุษยวิทยาภาษา || คติชนวิทยา || สังคมและวัฒนธรรมเวียดนาม || กลุ่มชาติพันธ์ุไท/ไต || สังคมและวัฒนธรรมไทย
UPDATES
มองเรื่องเล็ก ให้เป็นเรื่องใหญ่
ยุกติ มุกดาวิจิตร เขียน
สำนักพิมพ์ปาตานีฟอรั่ม จัดพิมพ์
อปท. กับประชาธิปไตยท้องถิ่น
ในระยะกว่า 20 ปีที่ผ่านมา องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในประเทศไทยกำลังเติบโต เป็นการการเติบโตทั้งในทางประสิทธิภาพการบริหารงานและการบริหารจัดการงบประมาณ ไม่เพียงเท่านั้น การเติบโตของ อปท. คือดัชนีหนึ่งของการเติบโตของระบอบประชาธิปไตยในระดับท้องถิ่น
Inside Out ฉบับปฐมฤกษ์
จดหมายข่าวศูนย์เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ สถาบันเอเชียตะวันออก มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
ประวัติศาสตร์ไทดำ: รากเหง้าวัฒนธรรม-สังคมไทย และเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
ยุกติ มุกดาวิจิตร “หนังสือเล่มนี้เป็นผลจากการนั่งอ่านทำความเข้าใจประวัติศาสตร์กลุ่มชาติพันธ์ุหนึ่ง จากมุมมองของพวกเขาเอง จากคำบอกเล่า จากบันทึกของพวกเขาเอง ผมได้แปลเอกสาร 2 ชิ้น ชิ้นหนึ่งเป็นภาษาไทดำ อีกชิ้นหนึ่งเป็นภาษาเวียดนาม แล้วเขียนบทความอธิบายที่มาที่ไปของเอกสารและเนื้อหาของเอกสาร”
อย่าใช้อำนาจรัฐกำกับวัฒนธรรม
วัฒนธรรมเป็นของทั้งชุมชนผู้สร้างและปัจเจกชนผู้ใช้ แสดงออก และร่วมสร้าง ทั้งชุมชนและปัจเจกชนมีสิทธิครอบครอง ใช้ และดัดแปลงวัฒนธรรมของตนเอง ไม่ใช่เรื่องอะไรที่รัฐจะต้องยื่นอำนาจเข้ามาก้าวก่าย รัฐอาจช่วยส่งเสริม ช่วยสนับสนุนให้พัฒนาได้ และนั่นเป็นบทบาทที่ถูกต้องของรัฐ การประกาศกฎหมายแบบนี้ออกมาเขาไม่ได้เรียกการส่งเสริมวัฒนธรรมหรอก เขาเรียกเผด็จการทางวัฒนธรรมต่างหาก
วัฒนธรรมต่อต้าน
ยุกติ มุกดาวิจิตร (บรรณาธิการ). 2556. วัฒนธรรมต่อต้าน. กรุงเทพฯ: ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร (องค์การมหาชน).
40 ปี Encoding/Decoding (1973)
แม้ตัดมาเฉพาะส่วนเดียวแค่ 10 ของบทความดั้งเดิม บทความนี้ก็อ่านสนุกมาก ยิ่งเมื่อต้องอธิบายให้คน 12 คนในห้องเรียนวิชา Research Methodologies in Social Sciences หลักสูตร ASEAN Studies ของวิทยาลัยนานาชาติ ปรีดี พนมยงค์ ที่บางคนไม่รู้จักแม้กระทั่ง Karl Marx คือใคร Marxism คืออะไร ยิ่งสนุก ขอนำบันทึกจากการสัมมนาในห้องเรียนมานำเสนอสั้นๆ ในที่นี้
จดหมายถึงว่าที่อธิการบดี
การที่จะให้ธรรมศาสตร์กลับมาเป็นมหาวิทยาลัยชั้นนำที่สามารถสร้างความรู้ใหม่ๆ ที่สามารถดึงดูดทั้งนักศึกษา บุคคลากร และอาจารย์ที่มีคุณภาพให้มาร่วมพัฒนาธรรมศาสตร์ ที่สามารถกลายเป็นมหาวิทยาลัยชั้นนำในระดับนานาชาติได้นั้น จำเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องเร่งแก้ไขปัญหาต่อไปนี้
สัมมนารายงานความก้าวหน้างานวิจัย: คน อินเทอร์เน็ต และความเป็นส่วนตัว
จัดโดย ฝ่ายวิจัยและบริการวิชาการ คณะสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ร่วมกับ เครือข่ายพลเมืองเน็ต วันที่ 21 สิงหาคม 2556 เวลา 9.30-12.00 น.
ภาพเหมือน (นักมานุษยวิทยา) คนขาว
สองเดือนที่ผ่านมานี้มีความสูญเสียใหญ่ๆ ในวงการมานุษยวิทยา สองครั้ง หนึ่งคือ เมื่อเดือนกรกฎาคม วงการมานุษยวิทยาอเมริกันต้องสูญเสีย George W. Stocking, Jr. นักประวัติศาสตร์มานุษยวิทยา ผู้ซึ่งเปิดเผยให้เห็นรายละเอีดของพัฒนาการความรู้ทางมานุษยวิทยาสมัยใหม่ในศตวรรษที่ 20 อย่างละเอียดลออ อีกครั้งหนึ่งคือล่าสุดเมื่อ 4 สิงหาคม 2556 คือการเสียชีวิตของ Keith Basso นักมานุษยวิทยาภาษาคนสำคัญ