อาจารย์สุดแดน วิสุทธิลักษณ์ Suddan Wisudthiluck
คณะสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา
มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ศูนย์รังสิต
99 หมู่ 18 ถนนพหลโยธิน
ตำบลคลองหนึ่ง อำเภอคลองหลวง
ปทุมธานี 12121
โทรศัพท์: 0-2696-5800
โทรสาร: 0-2696-5812
moodle (เค้าโครงการเรียนการสอน)
UPDATES
In Memoriam | Miangul Adnan Aurangzab (1961-2022)
คณะสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ขอแสดงความเสียใจอย่างยิ่งต่ออสัญกรรมของเมียงกูล อัดนัน โอรังเซป (Miangul Adnan Aurangzab) ผู้ซึ่งมีส่วนสำคัญในการสานความสัมพันธ์ด้านการศึกษาและวัฒนธรรมระหว่างปากีสถานกับมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และคณะสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา
“กิจกรรมการท่องเที่ยวเชิงสร้างสรรค์รุ่นที่ 2”
คณะสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา มธ. ร่วมกับ อพท. แถลงข่าวเปิดตัว 11 กิจกรรมการท่องเที่ยวเชิงสร้างสรรค์ปีล่าสุด
อุตสาหกรรมความศักดิ์สิทธิ์
ผมหวังว่าผู้ให้ความรู้จะทำให้ความรู้และกระบวนการเรียนรู้มีค่าในตัวของมันเองเหนือพิธีรับปริญญา และหวังว่าผู้เรียนรู้จะเห็นค่าของความรู้และกระบวนการเรียนรู้เหนือปริญญาและพิธีกรรมที่พวกคุณเข้าร่วมและผ่านพ้นมา
จะไปให้ไกลทำไมกัน: ข้อเขียน และ การเดินทาง ว่าด้วยความห่าง-ใกล้
สุดแดน วิสุทธิลักษณ์: “ผมคิดว่า…บางทีนักเดินทางที่ทำตัวเป็นนักมานุษยวิทยา น่าจะมีความสุขกว่าพวกนักมานุษยวิทยาที่แฝงตัวมาในคราบของนักท่องเที่ยวก็เป็นได้”
ท่องแดนอาเซียน
สุดแดน วิสุทธิลักษณ์: “คนที่เรียนรู้ผู้อื่น เคารพผู้อื่น มองเห็นความแปลกแตกต่าง ว่าเป็นความหลากหลาย ย่อมสั่งสมความมั่งคั่งให้กับตนเองในท้ายที่สุด และผมคิดว่าเราอาจเริ่มต้นจากการอ่านหนังสือเล่มนี้”
คน สัตว์ สิ่งของ: ความหมายและความสัมพันธ์ไม่รู้จบ
เรื่องเล่าเกี่ยวกับสิ่งของ 25 +1 ชิ้น ที่จะได้อ่านต่อไปนี้ ถือเป็นการชุบชีวิตและให้ความหมายแก่สิ่งของจำนวนหนึ่งจากคลังสะสมของพิพิธภัณฑ์ธรรมศาสตร์ฯ ภายหลังน้ำท่วมใหญ่ ผู้เขียนเลือกของแต่ละชิ้นโดยสมัครใจพร้อมกับเล่าเรื่องถึงของชิ้นนั้นๆ ผ่านผัสสะ อารมณ์ และความรู้สึกนึกคิดของตนเอง เรื่องราวที่ปรากฎจึงเป็นทั้งเรื่องสิ่งของและเรื่องของผู้เล่าเองด้วยเช่นกัน
Carpe diem-ขอแสดงความยินดีกับ(มหา)บัณฑิตใหม่
Remember that you are mortal, so seize the day.
20 ปี หอจดหมายเหตุธรรมศาสตร์
ช่วงระยะเวลา 77 ปีของมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และ 2 ทศวรรษของหอจดหมายเหตุธรรมศาสตร์ อาจยังคงสั้นเกินไปที่จะทำให้คนรุ่นปัจจุบันตระหนักถึงความสำคัญของอดีตตนเองมากไปกว่าการใคร่ครวญถึงอนาคต ที่เรืองรองอยู่เบื้องหน้า
ในแผง – นอกแผง: ไกลดวงตา ใกล้ใจ
“นักเดินทาง” กับ “นักมานุษยวิทยา” เหมือนหรือต่างกัน? อย่างไร?
ความปรารถนาในที่อื่น
….และคำถามว่าควรจะอยู่ที่แห่งหนไหน เป็นคำถามที่ผมถกเถียงกับจิตวิญญาณของตัวเองอยู่เสมอมา