ฟรอยด์: ความรู้ฉบับพกพา
ฟรอยด์: ความรู้ฉบับพกพา
Freud : A Very Short Introduction
Anthony Storr เขียน
สายพิณ ศุพุทธมงคล แปล
จัดพิมพ์โดย bookscape (2562)
สั่งซื้อออนไลน์ได้ ที่นี่
“…ฟรอยด์เป็นบุคคลในประวัติศาสตร์ไปแล้ว เราสามารถพูดถึงความสำเร็จและข้อจำกัดของเขาจากหลักฐานที่มีได้อย่างเป็นกลาง โดยไม่ต้องเกรงว่าจะถูกกล่าวหาว่าเป็นสานุศิษย์ผู้งมงายที่กลืนจิตวิเคราะห์เข้าไปโดยไม่ย่อย หรือไม่สมาทานจิตวิเคราะห์เพราะไม่ชอบหรือไม่มีปัญญา
ฟรอยด์ไม่ได้นำเราไปสู่ดินแดนแห่งพันธะสัญญาอย่างที่ผู้ศรัทธาในตัวเขาหวัง แต่ความคิดของ
ฟรอยด์มีอิทธิพลมาก เออร์เนสต์ เกลเนอร์ (Ernest Gellner ค.ศ. 1925-1995 นักปรัชญาและมานุษยวิทยาชาวอังกฤษเชื้อสายเช็ก) กล่าวว่าจิตวิเคราะห์กลายเป็น ‘สำนวนที่ทรงอิทธิพลที่สุดสำหรับพูดถึงบุคลิกภาพและความสัมพันธ์ของมนุษย์‘ คำกล่าวนี้หมายความว่าอย่างไร และทำไมจึงเป็นเช่นนี้…”
ฟรอยด์ไม่ได้นำเราไปสู่ดินแดนแห่งพันธะสัญญาอย่างที่ผู้ศรัทธาในตัวเขาหวัง แต่ความคิดของ
ฟรอยด์มีอิทธิพลมาก เออร์เนสต์ เกลเนอร์ (Ernest Gellner ค.ศ. 1925-1995 นักปรัชญาและมานุษยวิทยาชาวอังกฤษเชื้อสายเช็ก) กล่าวว่าจิตวิเคราะห์กลายเป็น ‘สำนวนที่ทรงอิทธิพลที่สุดสำหรับพูดถึงบุคลิกภาพและความสัมพันธ์ของมนุษย์‘ คำกล่าวนี้หมายความว่าอย่างไร และทำไมจึงเป็นเช่นนี้…”
อ่านตัวอย่างของหนังสือได้ ที่นี่