ประกาศรายชื่อผู้มีสิทธิเข้ารับการคัดเลือกพนักงานมหาวิทยาลัย ตำแหน่งนักวิจัย (วุฒิปริญญาโท) ปฏิบัติงานประจำศูนย์ศึกษาสังคมและวัฒนธรรมร่วมสมัย

คณะสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา ประกาศรายชื่อผู้มีสิทธิเข้ารับการคัดเลือกพนักงานมหาวิทยาลัย ตำแหน่งนักวิจัย (วุฒิปริญญาโท) ให้มารับคัดเลือก (ส่วนข้อเขียน) ในวันที่ 27 และ 29 ตุลาคม 2555

Occupy Movement = ประชาธิปไตยทางตรง แล้วไง?

บันทึกจากงานถ่ายทอดสดและเสวนา Creative Time Summit จากนิวยอร์ค จัดโดย The Reading Room วันศุกร์ที่ 12 ตุลาคม 2555

ประกาศผลการคัดเลือกพนักงานมหาวิทยาลัย ตำแหน่งอาจารย์ สาขามานุษยวิทยา

ประกาศคณะสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ เรื่อง ประกาศผลการคัดเลือกพนักงานมหาวิทยาลัย ตำแหน่งอาจารย์ สาขามานุษยวิทยา ประกาศ ณ วันที่ 12 ตุลาคม 2555

การนำเสนอผลงานวิจัยกลุ่มวิจัยมโนทัศน์พหุวัฒนธรรมนิยม

ส่วนหนึ่งของโครงการกลุ่มวิจัยความขัดแย้งและพหุวัฒนธรรม ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร (องค์การมหาชน) วันเสาร์ที่ 27 ตุลาคม 2555

Confronting Unequal Worlds of Development: Crisis of Public Knowledge, and the Transnational Social Science Agenda in ASEAN

วันที่ 25-26 ตุลาคม 2555 ห้องประชุม จุมภฏ-พันธุ์ทิพย์ ชั้น 4 อาคารประชาธิปก-รำไพพรรณี จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

คน สัตว์ สิ่งของ: ความหมายและความสัมพันธ์ไม่รู้จบ

เรื่องเล่าเกี่ยวกับสิ่งของ 25 +1 ชิ้น ที่จะได้อ่านต่อไปนี้ ถือเป็นการชุบชีวิตและให้ความหมายแก่สิ่งของจำนวนหนึ่งจากคลังสะสมของพิพิธภัณฑ์ธรรมศาสตร์ฯ ภายหลังน้ำท่วมใหญ่ ผู้เขียนเลือกของแต่ละชิ้นโดยสมัครใจพร้อมกับเล่าเรื่องถึงของชิ้นนั้นๆ ผ่านผัสสะ อารมณ์ และความรู้สึกนึกคิดของตนเอง เรื่องราวที่ปรากฎจึงเป็นทั้งเรื่องสิ่งของและเรื่องของผู้เล่าเองด้วยเช่นกัน

สุวรรณภูมิในพิพิธภัณฑ์ของอาเซียน: การเมืองในห้องจัดแสดง

บทความโดย อุดมลักษณ์ ฮุ่นตระกูล จากหนังสือ 25 ปีพิพิธภัณฑ์ธรรมศาสตร์เฉลิมพระเกียรติ พ.ศ.2530-2555

จินตนาการ “สุวรรณภูมิ”

บทความโดย พจนก กาญจนจันทร จากหนังสือ 25 ปีพิพิธภัณฑ์ธรรมศาสตร์เฉลิมพระเกียรติ พ.ศ.2530-2555

จินตกรรมและจินตนาการ ผ่านวัตถุสิ่งของ “สุวรรณภูมิ”

บทแนะนำวัตถุจัดแสดงในชุด จินตกรรม-จินตนาการ “สุวรรณภูมิ” โดย พจนก กาญจนจันทร

คนคือผู้สร้าง ผู้สะสม และให้ความหมาย

บทแนะนำวัตถุจัดแสดงในชุด “คน สัตว์ สิ่งของ ในพิพิธภัณฑ์ธรรมศาสตร์เฉลิมพระเกียรติ” โดย พจนก กาญจนจันทร