อาจารย์คณะสังคมวิทยาและมานุษยวิทยาได้รับรางวัลผลงานวิจัยและวิทยานิพนธ์ดีเด่นด้านครอบครัว ประจำปี พ.ศ. 2557

คณะสังคมวิทยาและมานุษยวิทยาขอแสดงความยินดีกับ รองศาสตราจารย์พรชัย ตระกูลวรานนท์ และ อาจารย์วาทินีย์ วิชัยยา ที่ได้รับรางวัลจากการประกวดผลงานวิจัยและวิทยานิพนธ์ดีเด่นด้านครอบครัว ประจำปี 2557 ของสำนักงานกิจการสตรีและสถาบันครอบครัว กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์

วารสารสังคมวิทยามานุษยวิทยา ปีที่ 31 ฉบับที่ 1 (มกราคม-มิถุนายน 2555)

วารสารสังคมวิทยามานุษยวิทยา ปีที่ 31 ฉบับที่ 1 (มกราคม-มิถุนายน 2555)
ฉบับ “คนในโลกสมัยใหม่”
บรรณาธิการประจำฉบับ: จันทนี เจริญศรี

ชวน “homo ludens” มา “เล่น” สงกรานต์

เมื่อคิดเช่นนี้ การเล่นก็ต้องมาก่อนประเพณี และยังเป็นไปได้มากว่าเล่นไปๆ สัญลักษณ์ “ศักดิ์สิทธิ์” ทั้งหลายที่มาทีหลังค่อยๆ มาเกาะเกี่ยวการเล่น ทำให้การเล่นกลายเป็นพิธีกรรม แล้วเราก็เลยมีประเพณีสงกรานต์อันศักดิ์สิทธิ์ และการเล่นสาดน้ำที่สามานย์

Inside Out ฉบับปฐมฤกษ์

จดหมายข่าวศูนย์เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ สถาบันเอเชียตะวันออก มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

Bangkok as a “Bush”: preliminary findings on African migrants facing Asia

การบรรยายพิเศษโดย Professor Mamadou Diawara วันอังคารที่ 1 เมษายน 2557 เวลา 13.30-16.30 น. ณ ห้องบรรยายโครงการปริญญาเอก คณะสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา ชั้น 4 อาคารคณะสังคมสงเคราะห์ศาสตร์ มธ. ท่าพระจันทร์

ABSTRACT: Refuge and Emplacement through Buddhism: Karen Refugees and Religious Practices in a Northwestern Border Town of Thailand

Prasert Rangkla. 2014. “Refuge and Emplacement through Buddhism: Karen Refugees and Religious Practices in a Northwestern Border Town of Thailand” in Sin Wen Lau, Nanlai Cao (eds.). Religion and Mobility in a Globalising Asia: New Ethnographic Explorations. London: Routledge.

สนามเด็กเล่น 49/01: การนำเสนอผลงานของนักศึกษาปริญญาตรี คณะสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา ปีการศึกษา 2556

สนาม: สนามของประสบการณ์
เด็ก: ก้าวแรกของนักสังคมวิทยาและนักมานุษยวิทยา
เล่น: เพื่อเรียนรู้ความเป็นคน

รายงานสรุปเนื้อหาการบรรยายพิเศษ ชีวิตทางสังคมของเกษตรอินทรีย์และการเมืองเรื่องอาหารในประเทศไทย

วิทยากร Associate Professor Peter Vandergeest แปลและสรุปความเป็นภาษาไทย โดย อาจารย์ ดร.อัจฉรา รักยุติธรรม บันทึกเรียบเรียงโดย นิรมล ยุวนบุณย์

ประวัติศาสตร์ไทดำ: รากเหง้าวัฒนธรรม-สังคมไทย และเอเชียตะวันออกเฉียงใต้

ยุกติ มุกดาวิจิตร “หนังสือเล่มนี้เป็นผลจากการนั่งอ่านทำความเข้าใจประวัติศาสตร์กลุ่มชาติพันธ์ุหนึ่ง จากมุมมองของพวกเขาเอง จากคำบอกเล่า จากบันทึกของพวกเขาเอง ผมได้แปลเอกสาร 2 ชิ้น ชิ้นหนึ่งเป็นภาษาไทดำ อีกชิ้นหนึ่งเป็นภาษาเวียดนาม แล้วเขียนบทความอธิบายที่มาที่ไปของเอกสารและเนื้อหาของเอกสาร”