มอง คน สะท้อน โครงสร้าง
รวมบทความวิชาการ จากวิทยานิพนธ์ระดับปริญญาโท โครงการบัณฑิตศึกษา คณะสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ชนิดา ชิตบัณฑิตย์ พรทิพย์ เนติภารัตนกุล บรรณาธิการ
รัฐฉาน (เมืองไต): พลวัตของชาติพันธุ์ ในบริบทประวัติศาสตร์และสังคมการเมืองร่วมสมัย
หนังสือ “รัฐฉาน (เมืองไต): พลวัตของชาติพันธุ์ ในบริบทประวัติศาสตร์และสังคมการเมืองร่วมสมัย” โดย ศาสตราจารย์ ดร. เสมอชัย พูลสุวรรณ หนังสือได้รับรางวัลผลงานวิจัยระดับดีเด่น (สาขาสังคมวิทยา) ประจำปี 2554 จากสำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ
บุญเลิศ วิเศษปรีชา กับการเดินทางสู่โลกของคนไร้บ้าน
เผยแพร่ซ้ำจากคอลัมน์ บุคคลในข่าว: บุญเลิศ วิเศษปรีชา กับการเดินทางสู่โลกของคนไร้บ้าน
โดย วิรพา อังกูรทัศนียรัตน์ เว็บไซต์นิตยสารสารคดี
เฟ่ยเสี้ยวทง กับ สังคมวิทยาชนบทจีน
หนังสือ พื้นถิ่นแผ่นดินจีน: สังคมวิทยาชนบทจีน
เฟ่ยเสี้ยวทง เขียน
พรชัย ตระกูลวรานนท์
บทความ (ภาษาจีน): การพัฒนาอุตสาหกรรมของจีนและการปรับตัวของชนบท
บทความ (ภาษาจีน) “การพัฒนาอุตสาหกรรมของจีนและการปรับตัวของชนบท” โดย อาจารย์ ดร.ธีระ สินเดชารักษ์ และ อาจารย์คมกฤช ธาราวิวัฒน์
ส่วนหนึ่งของโครงการวิจัย “การพัฒนาอุตสาหกรรมและการปรับตัวของชนบท: บทเรียนสำหรับประเทศไทย
กรณีศึกษาเมืองเจิ้งโจวและเมืองลั่วหยาง มณฑลเหอหนาน เมืองซูโจว มณฑลเจียงซู” (2554)
นคราภิวัฒน์กับผลกระทบต่อภาคชนบทจีน: มหานครฉงชิ่งและมณฑลเจ้อเจียง เมืองหางโจว
ผู้ประสานงานชุดโครงการ: รองศาสตราจารย์พรชัย ตระกูลวรานนท์
ผู้วิจัย: อาจารย์กนกรัตน์ กิตติวิวัฒน์
ปีที่ทำวิจัย: 2554
abstract เพื่อนบ้านศีกษา: วิธีวิทยาศึกษาอาเซียน
บทคัดย่อของบทความ “เพื่อนบ้านศีกษา: วิธีวิทยาศึกษาอาเซียน” โดย ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ยุกติ มุกดาวิจิตร นำเสนอในงานสัมมนา “เราจะอยู่ร่วมกันอย่างไรในอาเซียน?: ประชาคมภายใต้ความหลากหลาย” 30 เมษายน 2555
คณะสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา ประกาศรับสมัครอาจารย์สาขามานุษยวิทยา
คณะสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา เปิดรับสมัครอาจารย์สาขามานุษยวิทยา ตั้งแต่วันที่ 25 เมษายน 2555 – 29 มิถุนายน 2555
20 ปี หอจดหมายเหตุธรรมศาสตร์
ช่วงระยะเวลา 77 ปีของมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และ 2 ทศวรรษของหอจดหมายเหตุธรรมศาสตร์ อาจยังคงสั้นเกินไปที่จะทำให้คนรุ่นปัจจุบันตระหนักถึงความสำคัญของอดีตตนเองมากไปกว่าการใคร่ครวญถึงอนาคต ที่เรืองรองอยู่เบื้องหน้า
ในแผง – นอกแผง: ไกลดวงตา ใกล้ใจ
“นักเดินทาง” กับ “นักมานุษยวิทยา” เหมือนหรือต่างกัน? อย่างไร?