บริการวิชาการ
คณะสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา ส่งเสริมบริการวิชาการแก่สาธารณะ นอกจากผลงานตีพิมพ์ของคณาจารย์ในคณะฯ แล้ว ยังสนับสนุนการตีพิมพ์เผยแพร่ วารสารสังคมวิทยามานุษยวิทยา และจัดกิจกรรมทางวิชาการหลากหลายรูปแบบอย่างสม่ำเสมอ รวมทั้งโครงการ "สนาม" เพื่อการเปิดพื้นที่แลกเปลี่ยนทางวิชาการออนไลน์อีกด้วย
วิธีวิทยารื้อสร้างอัตลักษณ์
หนังสือในโครงการ “ตัวตนคนยองกับท้องถิ่นล้านนา: สื่อกับการเมืองอัตลักษณ์ในยุคโลกาภิวัตน์”
บ้านและเรื่องในบ้าน: ครอบครัว รัฐ และการเมืองวัฒนธรรม
โดย สายพิณ ศุพุทธมงคล (โครงการจัดพิมพ์คบไฟ, 2555)
การนำเสนอผลงานวิจัยกลุ่มวิจัยมโนทัศน์พหุวัฒนธรรมนิยม
ส่วนหนึ่งของโครงการกลุ่มวิจัยความขัดแย้งและพหุวัฒนธรรม ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร (องค์การมหาชน) วันเสาร์ที่ 27 ตุลาคม 2555
Confronting Unequal Worlds of Development: Crisis of Public Knowledge, and the Transnational Social Science Agenda in ASEAN
วันที่ 25-26 ตุลาคม 2555 ห้องประชุม จุมภฏ-พันธุ์ทิพย์ ชั้น 4 อาคารประชาธิปก-รำไพพรรณี จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
คน สัตว์ สิ่งของ: ความหมายและความสัมพันธ์ไม่รู้จบ
เรื่องเล่าเกี่ยวกับสิ่งของ 25 +1 ชิ้น ที่จะได้อ่านต่อไปนี้ ถือเป็นการชุบชีวิตและให้ความหมายแก่สิ่งของจำนวนหนึ่งจากคลังสะสมของพิพิธภัณฑ์ธรรมศาสตร์ฯ ภายหลังน้ำท่วมใหญ่ ผู้เขียนเลือกของแต่ละชิ้นโดยสมัครใจพร้อมกับเล่าเรื่องถึงของชิ้นนั้นๆ ผ่านผัสสะ อารมณ์ และความรู้สึกนึกคิดของตนเอง เรื่องราวที่ปรากฎจึงเป็นทั้งเรื่องสิ่งของและเรื่องของผู้เล่าเองด้วยเช่นกัน
สุวรรณภูมิในพิพิธภัณฑ์ของอาเซียน: การเมืองในห้องจัดแสดง
บทความโดย อุดมลักษณ์ ฮุ่นตระกูล จากหนังสือ 25 ปีพิพิธภัณฑ์ธรรมศาสตร์เฉลิมพระเกียรติ พ.ศ.2530-2555
จินตนาการ “สุวรรณภูมิ”
บทความโดย พจนก กาญจนจันทร จากหนังสือ 25 ปีพิพิธภัณฑ์ธรรมศาสตร์เฉลิมพระเกียรติ พ.ศ.2530-2555
จินตกรรมและจินตนาการ ผ่านวัตถุสิ่งของ “สุวรรณภูมิ”
บทแนะนำวัตถุจัดแสดงในชุด จินตกรรม-จินตนาการ “สุวรรณภูมิ” โดย พจนก กาญจนจันทร
คนคือผู้สร้าง ผู้สะสม และให้ความหมาย
บทแนะนำวัตถุจัดแสดงในชุด “คน สัตว์ สิ่งของ ในพิพิธภัณฑ์ธรรมศาสตร์เฉลิมพระเกียรติ” โดย พจนก กาญจนจันทร
สังคมวิทยาและมานุษยวิทยาเชียงใหม่: มุมมองจากธรรมศาสตร์
ส่วนหนึ่งของรายงานจากการเสวนาหัวข้อ “มอง ‘สำนักเชียงใหม่’ 360 องศา” ในงานประชุมวิชาการ “สะท้อน ย้อนคิด สังคมวิทยาและมานุษยวิทยา เชียงใหม่” วิทยากร ดร.นลินี ตันธุวนิตย์