บริการวิชาการ

คณะสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา ส่งเสริมบริการวิชาการแก่สาธารณะ นอกจากผลงานตีพิมพ์ของคณาจารย์ในคณะฯ แล้ว ยังสนับสนุนการตีพิมพ์เผยแพร่ วารสารสังคมวิทยามานุษยวิทยา และจัดกิจกรรมทางวิชาการหลากหลายรูปแบบอย่างสม่ำเสมอ รวมทั้งโครงการ "สนาม" เพื่อการเปิดพื้นที่แลกเปลี่ยนทางวิชาการออนไลน์อีกด้วย

วัฒนธรรมต่อต้าน

ยุกติ มุกดาวิจิตร (บรรณาธิการ). 2556. วัฒนธรรมต่อต้าน. กรุงเทพฯ:​ ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร (องค์การมหาชน).

VIDEO: เสวนา เหตุใดไฟใต้จึงยังคงลุกโชน: เสียงจากคนในพื้นที่ สื่อท้องถิ่น และการศึกษาภาคสนาม

บันทึก video จากงานเสวนาของศูนย์ศึกษาสังคมและวัฒนธรรมร่วมสมัย เมื่อวันศุกร์ที่ 1 มีนาคม 2556 เวลา 13.00-16.30 น. ณ ห้องบรรยายโครงการปริญญาเอก สาขามานุษยวิทยา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ท่าพระจันทร์

ปาฐกถาพิเศษ: “ฉาน” ร่วมสมัย ในบริบทธำรงชาติพันธุ์

ปาฐกถาพิเศษเนื่องในวันคล้ายวันสถาปนาคณะสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา ครบรอบ 48 ปี โดย ศาสตราจารย์ ดร. เสมอชัย พูลสุวรรณ วันที่ 15 กุมภาพันธ์ 2556 เวลา 10.00-12.00 น.

ผับเพื่อชีวิต: กระบวนการแปรรูปเพลงเพื่อชีวิตในอุตสาหกรรมวัฒนธรรม

บทคัดย่อของบทความโดย ชนิดา ชิตบัณฑิตย์ ตีพิมพ์ใน วารสารไทยคดีศึกษา ปีที่ 9 ฉบับที่ 1 (ตุลาคม 2554 – มีนาคม 2555) ฉบับ สินค้า วัฒนธรรม พรมแดน: การเดินทางข้ามพื้นที่และกรอบจารีต

A new extraterritoriality? Aquaculture certification, sovereignty, and empire

บทความโดย Peter Vandergeest and Anusorn Unno ตีพิมพ์ในวารสาร Political Geography

ความเหลื่อมล้ำแนวราบ: ต้นกำเนิดความรุนแรง

ฟรานเซส สจ๊วร์ต เขียน || เนาวนิจ สิริผาติวิรัตน์ แปล || สายพิณ ศุพุทธมงคล บรรณาธิการแปล

จะไปให้ไกลทำไมกัน: ข้อเขียน และ การเดินทาง ว่าด้วยความห่าง-ใกล้

สุดแดน วิสุทธิลักษณ์: “ผมคิดว่า…บางทีนักเดินทางที่ทำตัวเป็นนักมานุษยวิทยา น่าจะมีความสุขกว่าพวกนักมานุษยวิทยาที่แฝงตัวมาในคราบของนักท่องเที่ยวก็เป็นได้”

ท่องแดนอาเซียน

สุดแดน วิสุทธิลักษณ์: “คนที่เรียนรู้ผู้อื่น เคารพผู้อื่น มองเห็นความแปลกแตกต่าง ว่าเป็นความหลากหลาย ย่อมสั่งสมความมั่งคั่งให้กับตนเองในท้ายที่สุด และผมคิดว่าเราอาจเริ่มต้นจากการอ่านหนังสือเล่มนี้”

วิธีวิทยารื้อสร้างอัตลักษณ์

หนังสือในโครงการ “ตัวตนคนยองกับท้องถิ่นล้านนา: สื่อกับการเมืองอัตลักษณ์ในยุคโลกาภิวัตน์”