yukti

กิจกรรมวิชาการ

blog

อาจารย์สาขาสังคมวิทยา

อาจารย์สาขามานุษยวิทยา

ออกมาข้างใน เข้าไปข้างนอก: สู่ปีที่ 51 ของคณะสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

ในวาระ 50 ปีนี้ คณะฯ เห็นว่า แทนที่เราจะรำลึกย้อนหลัง สู้เราลองคิดกันไปข้างหน้าไม่ดีกว่าหรือ เราจะลองคิดไปข้างหน้าดูว่า ในอีก 50 ปีข้างหน้า ทิศทางของคณะฯ น่าจะไปทางไหน แต่กระนั้นก็ตาม เราก็ต้องคิดไปข้างหน้าบนต้นทุนทางความรู้และต้นทุนทางเครือข่ายสังคมที่เรามีอยู่

วิทยานิพนธ์จากคณะสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา ได้รับรางวัลวิทยานิพนธ์ดีเด่น มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

คณะสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา ขอแสดงความยินดีเนื่องในโอกาสที่วิทยานิพนธ์ “ชีวิตและการทำงานของแรงงานหญิงนวนคร: การจัดการเวลาและสร้างตัวตนผ่านการให้ความหมายกับเวลา” โดย นฤมล กล้าทุกวัน ได้รับรางวัลวิทยานิพนธ์ดีเด่น มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ประจำปีการศึกษา 2555

ประเทศไทยไม่เหมือนเดิม: การเสนอรายงานชุดโครงการวิจัย ทบทวนภูมิทัศน์การเมืองไทย

วันอังคารที่ 28 มกราคม 2557 เวลา 09.00-16.30 น. ณ ห้องบรรยายชั้น 1 (ห้อง 103) คณะสังคมสงเคราะห์ศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ท่าพระจันทร์

ประวัติศาสตร์ไทดำ: รากเหง้าวัฒนธรรม-สังคมไทย และเอเชียตะวันออกเฉียงใต้

ยุกติ มุกดาวิจิตร “หนังสือเล่มนี้เป็นผลจากการนั่งอ่านทำความเข้าใจประวัติศาสตร์กลุ่มชาติพันธ์ุหนึ่ง จากมุมมองของพวกเขาเอง จากคำบอกเล่า จากบันทึกของพวกเขาเอง ผมได้แปลเอกสาร 2 ชิ้น ชิ้นหนึ่งเป็นภาษาไทดำ อีกชิ้นหนึ่งเป็นภาษาเวียดนาม แล้วเขียนบทความอธิบายที่มาที่ไปของเอกสารและเนื้อหาของเอกสาร”

อย่าใช้อำนาจรัฐกำกับวัฒนธรรม

วัฒนธรรมเป็นของทั้งชุมชนผู้สร้างและปัจเจกชนผู้ใช้ แสดงออก และร่วมสร้าง ทั้งชุมชนและปัจเจกชนมีสิทธิครอบครอง ใช้ และดัดแปลงวัฒนธรรมของตนเอง ไม่ใช่เรื่องอะไรที่รัฐจะต้องยื่นอำนาจเข้ามาก้าวก่าย รัฐอาจช่วยส่งเสริม ช่วยสนับสนุนให้พัฒนาได้ และนั่นเป็นบทบาทที่ถูกต้องของรัฐ การประกาศกฎหมายแบบนี้ออกมาเขาไม่ได้เรียกการส่งเสริมวัฒนธรรมหรอก เขาเรียกเผด็จการทางวัฒนธรรมต่างหาก

วัฒนธรรมต่อต้าน

ยุกติ มุกดาวิจิตร (บรรณาธิการ). 2556. วัฒนธรรมต่อต้าน. กรุงเทพฯ:​ ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร (องค์การมหาชน).

นาฏกรรมสังหาร: ประวัติศาสตร์บาดแผลในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้

ขอเชิญชมภาพยนตร์ The Act of Killing (Joshua Oppenheimer, 2012) และร่วมเสวนาวิชาการ “นาฏกรรมสังหาร: ประวัติศาสตร์บาดแผลในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้” วันเสาร์ที่ 19 ตุลาคม 2556 เวลา 14.00-18.00 น. ณ โรงภาพยนตร์ลิโด 1 สยามสแควร์

สรวลเสวนาสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา ครั้งที่ 4/2556

ประเด็น “เดรัจฉานศึกษา: มานุษยวิทยาว่าด้วยสัตว์” วันศุกร์ที่ 27 กันยายน 2556 เวลา 9.30-12.30 น. ณ ห้องบรรยายโครงการปริญญาเอก คณะสังคมวิทยาเเละมานุษยวิทยา ตึกสังคมสงเคราะห์ศาสตร์ ชั้น 4 มธ.ท่าพระจันทร์

40 ปี Encoding/Decoding (1973)

แม้ตัดมาเฉพาะส่วนเดียวแค่ 10 ของบทความดั้งเดิม บทความนี้ก็อ่านสนุกมาก ยิ่งเมื่อต้องอธิบายให้คน 12 คนในห้องเรียนวิชา Research Methodologies in Social Sciences หลักสูตร ASEAN Studies ของวิทยาลัยนานาชาติ ปรีดี พนมยงค์ ที่บางคนไม่รู้จักแม้กระทั่ง Karl Marx คือใคร Marxism คืออะไร ยิ่งสนุก ขอนำบันทึกจากการสัมมนาในห้องเรียนมานำเสนอสั้นๆ ในที่นี้

จดหมายถึงว่าที่อธิการบดี

การที่จะให้ธรรมศาสตร์กลับมาเป็นมหาวิทยาลัยชั้นนำที่สามารถสร้างความรู้ใหม่ๆ ที่สามารถดึงดูดทั้งนักศึกษา บุคคลากร และอาจารย์ที่มีคุณภาพให้มาร่วมพัฒนาธรรมศาสตร์ ที่สามารถกลายเป็นมหาวิทยาลัยชั้นนำในระดับนานาชาติได้นั้น จำเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องเร่งแก้ไขปัญหาต่อไปนี้