โครงการภาคพิเศษปริญญาตรี หลักสูตรการวิจัยทางสังคม รับสมัครนักศึกษาใหม่ ประจำปีการศึกษา 2560

เปิดรับสมัครนักศึกษาใหม่ ตั้งแต่วันที่ 1 มิถุนายน – 4 กรกฎาคม 2557

รายงานสรุปเนื้อหาการเสวนา จุดไฟในพายุ: สันติภาพชายแดนใต้ภายใต้สถานการณ์ความขัดแย้งทางการเมือง

บันทึกจาการเสวนา จุดไฟในพายุ: สันติภาพชายแดนใต้ภายใต้สถานการณ์ความขัดแย้งทางการเมือง วันอังคารที่ 17 ธันวาคม 2556 จัดโดย ศูนย์ศึกษาสังคมวัฒนธรรมร่วมสมัย (CCSCS) คณะสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

มหกรรมผลงานวิจัยเชิงปริมาณ โดยนักศึกษาสาขาวิชาการวิจัยทางสังคม ประจำปีการศึกษา 2556

วันจันทร์ ที่ 25 เดือนพฤศจิกายน พ.ศ.2556 ตั้งแต่เวลา 13.00 น. เป็นต้นไป บริเวณ ชั้น 1 อาคารคณะสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ศูนย์รังสิต

รางวัลนักวิจัยรุ่นใหม่ดีเด่นระดับคณะ ประจำปี พ.ศ.2556

คณะสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา ขอแสดงความยินดีกับ
อาจารย์พรทิพย์ เนติภารัตนกุล เนื่องในโอกาสได้รับรางวัลนักวิจัยรุ่นใหม่ดีเด่นระดับคณะ ของมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ประจำปี พ.ศ.2556

อย่าใช้อำนาจรัฐกำกับวัฒนธรรม

วัฒนธรรมเป็นของทั้งชุมชนผู้สร้างและปัจเจกชนผู้ใช้ แสดงออก และร่วมสร้าง ทั้งชุมชนและปัจเจกชนมีสิทธิครอบครอง ใช้ และดัดแปลงวัฒนธรรมของตนเอง ไม่ใช่เรื่องอะไรที่รัฐจะต้องยื่นอำนาจเข้ามาก้าวก่าย รัฐอาจช่วยส่งเสริม ช่วยสนับสนุนให้พัฒนาได้ และนั่นเป็นบทบาทที่ถูกต้องของรัฐ การประกาศกฎหมายแบบนี้ออกมาเขาไม่ได้เรียกการส่งเสริมวัฒนธรรมหรอก เขาเรียกเผด็จการทางวัฒนธรรมต่างหาก

มานุษยวิทยาว่าด้วยการกอบกู้

หากพิจารณาจากลักษณะโทษที่คาดไว้ สิ่งที่ร่าง พรบ. ฉบับนี้ต้องการกอบกู้อาจไม่ได้เป็นมรดกทางวัฒนธรรมและชีวิตของคนที่ไม่สู้มีปากเสียง เท่าๆ กับสถานภาพของชนชั้นนำที่กำลังง่อนแง่นเสียเต็มประดา

วัฒนธรรมต่อต้าน

ยุกติ มุกดาวิจิตร (บรรณาธิการ). 2556. วัฒนธรรมต่อต้าน. กรุงเทพฯ:​ ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร (องค์การมหาชน).

นาฏกรรมสังหาร: ประวัติศาสตร์บาดแผลในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้

ขอเชิญชมภาพยนตร์ The Act of Killing (Joshua Oppenheimer, 2012) และร่วมเสวนาวิชาการ “นาฏกรรมสังหาร: ประวัติศาสตร์บาดแผลในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้” วันเสาร์ที่ 19 ตุลาคม 2556 เวลา 14.00-18.00 น. ณ โรงภาพยนตร์ลิโด 1 สยามสแควร์

สรวลเสวนาสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา ครั้งที่ 4/2556

ประเด็น “เดรัจฉานศึกษา: มานุษยวิทยาว่าด้วยสัตว์” วันศุกร์ที่ 27 กันยายน 2556 เวลา 9.30-12.30 น. ณ ห้องบรรยายโครงการปริญญาเอก คณะสังคมวิทยาเเละมานุษยวิทยา ตึกสังคมสงเคราะห์ศาสตร์ ชั้น 4 มธ.ท่าพระจันทร์

40 ปี Encoding/Decoding (1973)

แม้ตัดมาเฉพาะส่วนเดียวแค่ 10 ของบทความดั้งเดิม บทความนี้ก็อ่านสนุกมาก ยิ่งเมื่อต้องอธิบายให้คน 12 คนในห้องเรียนวิชา Research Methodologies in Social Sciences หลักสูตร ASEAN Studies ของวิทยาลัยนานาชาติ ปรีดี พนมยงค์ ที่บางคนไม่รู้จักแม้กระทั่ง Karl Marx คือใคร Marxism คืออะไร ยิ่งสนุก ขอนำบันทึกจากการสัมมนาในห้องเรียนมานำเสนอสั้นๆ ในที่นี้