blogs

กิจกรรมวิชาการ

blog

อาจารย์สาขาสังคมวิทยา

อาจารย์สาขามานุษยวิทยา

ภาพเหมือน (นักมานุษยวิทยา) คนขาว

สองเดือนที่ผ่านมานี้มีความสูญเสียใหญ่ๆ ในวงการมานุษยวิทยา สองครั้ง หนึ่งคือ เมื่อเดือนกรกฎาคม วงการมานุษยวิทยาอเมริกันต้องสูญเสีย George W. Stocking, Jr. นักประวัติศาสตร์มานุษยวิทยา ผู้ซึ่งเปิดเผยให้เห็นรายละเอีดของพัฒนาการความรู้ทางมานุษยวิทยาสมัยใหม่ในศตวรรษที่ 20 อย่างละเอียดลออ อีกครั้งหนึ่งคือล่าสุดเมื่อ 4 สิงหาคม 2556 คือการเสียชีวิตของ Keith Basso นักมานุษยวิทยาภาษาคนสำคัญ

อุตสาหกรรมความศักดิ์สิทธิ์

ผมหวังว่าผู้ให้ความรู้จะทำให้ความรู้และกระบวนการเรียนรู้มีค่าในตัวของมันเองเหนือพิธีรับปริญญา และหวังว่าผู้เรียนรู้จะเห็นค่าของความรู้และกระบวนการเรียนรู้เหนือปริญญาและพิธีกรรมที่พวกคุณเข้าร่วมและผ่านพ้นมา

ทำไมยังอ่านงาน Geertz กันอยู่

งานของเกียร์ทซดึงความเป็นมนุษย์ในมิติของการอยู่กับชุดความหมาย อารมณ์ ศิลปะออกมา แล้วนำมาเชื่อมโยงสังคม วัฒนธรรม ขยับสังคมศาสตร์ให้ค่อนไปในทางมนุษยศาสตร์มากขึ้น ทำให้ต้องเข้าใจความซับซ้อนของมนุษย์ด้วยวิธีการทางศิลปะและวรรณกรรมมากขึ้น และยกระดับการถกเถียงเพื่อเข้าใจความหมายทางสังคมไปสู่การถกเถียงทางปรัชญามากขึ้น

ประชามติเรื่องเครื่องแบบนักศึกษา

หากทำ poll ในคราบของ referendum ก็จะกลายเป็นว่าผู้จัดทำทึกทัก เหมาคิด ตู่เอาเองหรือเปล่า ว่าคะแนนจากการหยั่งเสียงมีฐานะที่เป็นทางการเสียขนาดนั้น หากไม่มีความยินยอมพร้อมใจต่อการทำประชามติ จะกลายเป็นการที่ผู้มีอำนาจใช้ “การหยั่งเสียง” มาครอบงำตู่เอาว่าเป็นการทำ “ประชามติ” หรือไม่ จะกลายเป็นการใช้เครื่องมือที่ดูเป็นประชาธิปไตย มารับใช้ระบอบอำนาจนิยมหรือไม่

นโยบายกลุ่มชาติพันธ์ุ / ชนเผ่าพื้นเมือง

บันทึกประกอบการบรรยายในการนำเสนอต่อที่ประชุมแผนแม่บทการพัฒนากลุุ่มชาติพันธ์ุและชนเผ่าพื้นเมือง กระทรวงพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ เมื่อวันที่ 27 พฤษภาคม 2556

สังคมศาสตร์ กับ การบริหารผ่านระบอบเวลา

หากความเป็นนักบริหารองค์กรที่ดี คือการสร้างผลผลิตได้ตามเป้าหมาย ในเวลาที่สั้นกระชั้น ใช้ต้นทุนต่ำ ขายเก่ง ขายเร็วจนไม่ต้องมีบริการหลังการขาย นักมานุษยวิทยา หากไม่หลงลืมความรู้และถอนรากการปฏิบัติที่หล่อหลอมเขามา เห็นทีจะประสบความสำเร็จโดยเกณฑ์นี้ลำบาก

สู่สันติภาพในอุษาคเนย์?

บันทึกจากงานสัมมนาวิชาการ “สู่สันติภาพในอุษาคเนย์?: กระบวนการสันติภาพในพม่า มาเลเซีย และจังหวัดชายแดนไทยภาคใต้” วันจันทร์ที่ 29 เมษายน 2556

การเมืองเรื่องความปกติ: 
ว่าด้วยทรงผม เพศ เกษตรกร และความเป็นไทย

ปาฐกถาของ ดร.อนุสรณ์ อุณโณ ในกิจกรรม “นิทรรศการการเมือง 2556” จัดโดยกลุ่มธรรมศาสตร์เสรีเพื่อประชาธิปไตย 
วันที่ 14 มกราคม 2556
มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ศูนย์รังสิต

อาลัยนักมานุษยวิทยาไทยในต่างแดน

ดร.อนุสรณ์ อุณโณ เขียนถึง ดร. พัฒนา กิติอาษา เมื่อวันที่ 10 มกราคม 2556

จะไปให้ไกลทำไมกัน: ข้อเขียน และ การเดินทาง ว่าด้วยความห่าง-ใกล้

สุดแดน วิสุทธิลักษณ์: “ผมคิดว่า…บางทีนักเดินทางที่ทำตัวเป็นนักมานุษยวิทยา น่าจะมีความสุขกว่าพวกนักมานุษยวิทยาที่แฝงตัวมาในคราบของนักท่องเที่ยวก็เป็นได้”