ผับเพื่อชีวิต: กระบวนการแปรรูปเพลงเพื่อชีวิตในอุตสาหกรรมวัฒนธรรม
บทคัดย่อของบทความโดย ชนิดา ชิตบัณฑิตย์ ตีพิมพ์ใน วารสารไทยคดีศึกษา ปีที่ 9 ฉบับที่ 1 (ตุลาคม 2554 – มีนาคม 2555) ฉบับ สินค้า วัฒนธรรม พรมแดน: การเดินทางข้ามพื้นที่และกรอบจารีต
A new extraterritoriality? Aquaculture certification, sovereignty, and empire
บทความโดย Peter Vandergeest and Anusorn Unno ตีพิมพ์ในวารสาร Political Geography
ความเหลื่อมล้ำแนวราบ: ต้นกำเนิดความรุนแรง
ฟรานเซส สจ๊วร์ต เขียน || เนาวนิจ สิริผาติวิรัตน์ แปล || สายพิณ ศุพุทธมงคล บรรณาธิการแปล
จะไปให้ไกลทำไมกัน: ข้อเขียน และ การเดินทาง ว่าด้วยความห่าง-ใกล้
สุดแดน วิสุทธิลักษณ์: “ผมคิดว่า…บางทีนักเดินทางที่ทำตัวเป็นนักมานุษยวิทยา น่าจะมีความสุขกว่าพวกนักมานุษยวิทยาที่แฝงตัวมาในคราบของนักท่องเที่ยวก็เป็นได้”
ท่องแดนอาเซียน
สุดแดน วิสุทธิลักษณ์: “คนที่เรียนรู้ผู้อื่น เคารพผู้อื่น มองเห็นความแปลกแตกต่าง ว่าเป็นความหลากหลาย ย่อมสั่งสมความมั่งคั่งให้กับตนเองในท้ายที่สุด และผมคิดว่าเราอาจเริ่มต้นจากการอ่านหนังสือเล่มนี้”
วิธีวิทยารื้อสร้างอัตลักษณ์
หนังสือในโครงการ “ตัวตนคนยองกับท้องถิ่นล้านนา: สื่อกับการเมืองอัตลักษณ์ในยุคโลกาภิวัตน์”
บ้านและเรื่องในบ้าน: ครอบครัว รัฐ และการเมืองวัฒนธรรม
โดย สายพิณ ศุพุทธมงคล (โครงการจัดพิมพ์คบไฟ, 2555)
คน สัตว์ สิ่งของ: ความหมายและความสัมพันธ์ไม่รู้จบ
เรื่องเล่าเกี่ยวกับสิ่งของ 25 +1 ชิ้น ที่จะได้อ่านต่อไปนี้ ถือเป็นการชุบชีวิตและให้ความหมายแก่สิ่งของจำนวนหนึ่งจากคลังสะสมของพิพิธภัณฑ์ธรรมศาสตร์ฯ ภายหลังน้ำท่วมใหญ่ ผู้เขียนเลือกของแต่ละชิ้นโดยสมัครใจพร้อมกับเล่าเรื่องถึงของชิ้นนั้นๆ ผ่านผัสสะ อารมณ์ และความรู้สึกนึกคิดของตนเอง เรื่องราวที่ปรากฎจึงเป็นทั้งเรื่องสิ่งของและเรื่องของผู้เล่าเองด้วยเช่นกัน
สุวรรณภูมิในพิพิธภัณฑ์ของอาเซียน: การเมืองในห้องจัดแสดง
บทความโดย อุดมลักษณ์ ฮุ่นตระกูล จากหนังสือ 25 ปีพิพิธภัณฑ์ธรรมศาสตร์เฉลิมพระเกียรติ พ.ศ.2530-2555
จินตนาการ “สุวรรณภูมิ”
บทความโดย พจนก กาญจนจันทร จากหนังสือ 25 ปีพิพิธภัณฑ์ธรรมศาสตร์เฉลิมพระเกียรติ พ.ศ.2530-2555