blogs

กิจกรรมวิชาการ

blog

อาจารย์สาขาสังคมวิทยา

อาจารย์สาขามานุษยวิทยา

จากเรื่องเล่าส่วนตนสู่สิทธิมนุษยชน

บันทึกจากการสัมมนา “Personal Narrative and Human Rights Campaigns” โดยวิทยากร Professor Sidonie Smith เมื่อวันที่ 7 สิงหาคม พ.ศ.2555

เมื่อระบบการศึกษาไทยไม่ยอมรับระบบการศึกษาของอังกฤษ?

การที่สกอ.และมหาวิทยาลัยต่างๆ ไม่มีเกณฑ์กลางที่เป็นมาตรฐานในการพิจารณาระบบคะแนนแบบลำดับขั้นของประเทศอังกฤษ กลับกลายเป็นการกีดกันและเลือกปฏิบัติทางวิชาการกับบัณฑิตที่จบการศึกษาจากอังกฤษจนทำให้ตัดโอกาสในการเข้าเป็นอาจารย์โดยปริยาย

ความเห็นหลังการนำเสนอผลงานวิจัยเบื้องต้น โครงการวิจัย “คนกับภัยพิบัติ: กรณีศึกษาชาวจังหวัดปทุมธานีที่ได้รับผลกระทบจากอุทกภัย พ.ศ. 2554”

งานวิจัยชุดนี้ (ที่)ไม่เพียงพรรณนาภาพความเป็นไปของชีวิตผู้คน แต่ยังนำเอาภาพเหล่านั้นมาวิพากษ์มายาคติที่คนทั่วไปมีต่อสังคมไทยได้อย่างแหลมคม ที่น่าคิดต่อไปคือ แล้วนักศึกษาจะสามารถนำวิธีการตั้งข้อสงสัยต่อมายาคติดังกล่าว ไปทำความเข้าใจสภาพแวดล้อมที่ตนเองคุ้นเคยในชีวิตปกติประจำวันของตนเองได้หรือไม่ และจะสามารถมองทะลุมายาคติที่เคยมีต่อตนเอง มายาคติอื่นๆ ที่ตนมีต่อคนอื่น ในทำนองเดียวกับที่พวกเขามีต่อสังคมผู้รับน้ำได้หรือไม่

คำกล่าวแนะนำโครงการ “คนกับภัยพิบัติ: กรณีศึกษาชาวจังหวัดปทุมธานีที่ได้รับผลกระทบจากอุทกภัย พ.ศ. 2554”

ผู้ช่วยศาสตราจารย์​ ดร. ยุกติ มุกดาวิจิตร อ่านในการนำเสนอผลงานวิจัยเบื้องต้น โครงการ “คนกับภัยพิบัติ: กรณีศึกษาชาวจังหวัดปทุมธานีที่ได้รับผลกระทบจากอุทกภัย พ.ศ. 2554” ณ ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร (องค์การมหาชน) วันที่ 22 มิถุนายน 2555

ขอให้พวกคุณได้เป็น “มนุษย์สมัยใหม่” โดยภาคภูมิ

ขอต้อนรับนักศึกษาใหม่ การเปิดภาคเรียนที่ธรรมศาสตร์ปี 2555 และแสดงความยินดีกับผู้สำเร็จการศึกษา (ไม่ว่าจะอยากรับปริญญาหรือไม่ก็ตาม) ด้วยบางประโยคที่ผมบรรยายให้นักศึกษาปริญญาตรี ปี 1 ณ โครงการหนึ่งฟังที่ท่าพระจันทร์วันนี้

เกาหลี: จากมุมมองของผู้ผ่านไปเยือน

ส่วนหนึ่งของรายงานความรู้ที่ได้รับจากการศึกษาดูงาน ณ สาธารณรัฐเกาหลี (เกาหลีใต้) วันที่ 23 – 27 พฤษภาคม 2555
โดย วิชัย แสงดาวฉาย นักวิชาการศึกษา ชำนาญการพิเศษ
คณะสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

Language Ideologies of Ethnic Orthography in a Multilingual State: the case of ethnic Thai orthographies in Vietnam

บทความ “Language Ideologies of Ethnic Orthography in a Multilingual State: the case of ethnic Thai orthographies in Vietnam.” โดย ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ยุกติ มุกดาวิจิตร

abstract เพื่อนบ้านศีกษา: วิธีวิทยาศึกษาอาเซียน

บทคัดย่อของบทความ “เพื่อนบ้านศีกษา: วิธีวิทยาศึกษาอาเซียน” โดย ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ยุกติ มุกดาวิจิตร นำเสนอในงานสัมมนา “เราจะอยู่ร่วมกันอย่างไรในอาเซียน?: ประชาคมภายใต้ความหลากหลาย” 30 เมษายน 2555

20 ปี หอจดหมายเหตุธรรมศาสตร์

ช่วงระยะเวลา 77 ปีของมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และ 2 ทศวรรษของหอจดหมายเหตุธรรมศาสตร์ อาจยังคงสั้นเกินไปที่จะทำให้คนรุ่นปัจจุบันตระหนักถึงความสำคัญของอดีตตนเองมากไปกว่าการใคร่ครวญถึงอนาคต ที่เรืองรองอยู่เบื้องหน้า

ในแผง – นอกแผง: ไกลดวงตา ใกล้ใจ

“นักเดินทาง” กับ “นักมานุษยวิทยา” เหมือนหรือต่างกัน? อย่างไร?