ย้อนรอยสังคมวิทยา: เส้นทางศาสตร์ว่าด้วยสังคม
วันอาทิตย์ที่ 28 สิงหาคม 2559 || เวลา 16.00 – 18.00 น.
ร้าน B2S สาขาเซ็นทรัลเวิลด์ กรุงเทพมหานคร
สังคมวิทยา: ความรู้ฉบับพกพา
Steve Bruce เขียน || จันทนี เจริญศรี แปล
จัดพิมพ์โดย openworlds (2559)
ศาสตร์ อศาสตร์: เข้ามาข้างนอก ออกไปข้างใน
จัดพิมพ์เนื่องในโอกาสครบรอบ 50 ปี การก่อตั้งคณะสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา โดย คณะสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ร่วมกับParagraph Publishing (2559) บทนำ ศาสตร์-อศาสตร์ เข้ามาข้างนอก ออกไปข้างใน จันทนี เจริญศรี ปาฐกถา “ศาสตร์” กับ “สหวิทยาการ”: กระบวนทัศน์และความท้าทายในโลกวิชาการสมัยใหม่ เสมอชัย พูลสุวรรณ ข้ามศาสตร์ ประวัติศาสตร์กับความหมาย เมื่อความตายกลายเป็นตาราง ศุภวิทย์ ถาวรบุตร นายเถื่อน กับ นายคำ ชูศักดิ์ ภัทรกุลวณิชย์ ศาสตร์-อศาสตร์ ศาสตร์-อศาสตร์: มานุษยวิทยา ณ จุดเปลี่ยนทางภววิทยา โกมาตร จึงเสถียรทรัพย์ ความไม่(เคย)เป็นสมัยใหม่ของศาสตร์-อศาสตร์ อวัตถุวิสัย อมนุษยนิยม และเครือข่าย-ผู้กระทำ ของ บรูโน ลาตูร์ จักรกริช สังขมณี ปก: สกลชนก เผื่อนพงษ์ บางส่วนจากบทบรรณาธิการ: ศาสตร์-อศาสตร์ เข้ามาข้างนอก […]
ผู้สูงอายุในสังคมจีน: การจัดสวัสดิการ ต้นแบบการดูแล และกิจกรรมทางสังคม
ธีระ สินเดชารักษ์ และ คณะ (2558) || โครงการวิจัยที่ได้รับทุนสนับสนุนจาก สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.)
สถิติประยุกต์: ปฐมบทแห่งการวิจัยทางสังคม
ธีระ สินเดชารักษ์, 2558 || หนังสือที่ได้รับทุนสนับสนุนการเขียนตำรา ประจำปี 2555 จากมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
ทฤษฎีสังคมวิทยายุคคลาสสิก
จิราภา วรเสียงสุข || พิมพ์ครั้งที่ 1, 2556
อ่านวิพากษ์: มิเชล ฟูโกต์
บรรณาธิการ: อนุสรณ์ อุณโณ || จันทนี เจริญศรี || สลิสา ยุกตะนันทน์
ABSTRACT: Refuge and Emplacement through Buddhism: Karen Refugees and Religious Practices in a Northwestern Border Town of Thailand
Prasert Rangkla. 2014. “Refuge and Emplacement through Buddhism: Karen Refugees and Religious Practices in a Northwestern Border Town of Thailand” in Sin Wen Lau, Nanlai Cao (eds.). Religion and Mobility in a Globalising Asia: New Ethnographic Explorations. London: Routledge.
ประวัติศาสตร์ไทดำ: รากเหง้าวัฒนธรรม-สังคมไทย และเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
ยุกติ มุกดาวิจิตร “หนังสือเล่มนี้เป็นผลจากการนั่งอ่านทำความเข้าใจประวัติศาสตร์กลุ่มชาติพันธ์ุหนึ่ง จากมุมมองของพวกเขาเอง จากคำบอกเล่า จากบันทึกของพวกเขาเอง ผมได้แปลเอกสาร 2 ชิ้น ชิ้นหนึ่งเป็นภาษาไทดำ อีกชิ้นหนึ่งเป็นภาษาเวียดนาม แล้วเขียนบทความอธิบายที่มาที่ไปของเอกสารและเนื้อหาของเอกสาร”
วัฒนธรรมต่อต้าน
ยุกติ มุกดาวิจิตร (บรรณาธิการ). 2556. วัฒนธรรมต่อต้าน. กรุงเทพฯ: ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร (องค์การมหาชน).