southeast asia

กิจกรรมวิชาการ

blog

อาจารย์สาขาสังคมวิทยา

อาจารย์สาขามานุษยวิทยา

Chams: The Patchwork Minorities in the changing World

5 พฤศจิกายน 2558 || 9.30-12.30 น. ณ ห้องประชุมโครงการปริญญาเอก คณะสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา มธ. ท่าพระจันทร์

The Plain of Jars of Laos: Colonial Archaeology or the birth of French Prehistoric Research?

A public talk by Lia Genovese
Wednesday, 21 October, 2015, 13.30-16.30 hrs.
PhD Programme Meeting Room, Faculty of Sociology and Anthropology, Thammasat University, Tha Prachan

พลเมืองที่รัฐปรารถนา: ข้อพินิจการสร้างพลเมืองของชาติในพิพิธภัณฑ์สิงคโปร์

โดยอาจารย์ชีวสิทธิ์ บุณยเกียรติ
ร่วมอภิปรายโดย อาจารย์อุดมลักษณ์ ฮุ่นตระกูล
วันจันทร์ที่ 29 กันยายน 2557 เวลา 13.30-16.30 น.

Delta Ontologies: Infrastructural Transformations in Southeast Asia

สรวลเสวนาสังคมวิทยา-มานุษยวิทยา ครั้งที่ 1/2557
วิทยากร Atsuro Morita || Casper Bruun Jensen
ร่วมอภิปรายโดย จักรกริช สังขมณี
วันพุธที่ 20 สิงหาคม 2557 เวลา 9.00-12.30 น.

วัฒนธรรม “รัก” ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้

พิพิธภัณฑ์ธรรมศาสตร์ฯ ขอเชิญเข้าร่วมงานสัมมนาวิชาการ วันอังคารที่ 9 กันยายน 2557 เวลา 8.30 – 16.30 น. ณ ห้องประชุมประกอบ หุตะสิงห์ ชั้น 3 อาคารอเนกประสงค์ 1 มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ท่าพระจันทร์

การจัดการมรดกวัฒนธรรม กรณีเขตเมืองพระนคร ประเทศกัมพูชา

การบริหารจัดการของ APSARA มีหลายองค์ประกอบที่จะเป็นประโยชน์และสมควรที่ประเทศไทยน่าจะลองรับมาปรับใช้ เพื่อให้การจัดการมรดกวัฒนธรรมของไทย มีการกระจายอำนาจ รวมไปถึงตรวจสอบการทำงานเพื่อสร้างมาตรฐานที่ใกล้เคียงกันได้

ABSTRACT: Refuge and Emplacement through Buddhism: Karen Refugees and Religious Practices in a Northwestern Border Town of Thailand

Prasert Rangkla. 2014. “Refuge and Emplacement through Buddhism: Karen Refugees and Religious Practices in a Northwestern Border Town of Thailand” in Sin Wen Lau, Nanlai Cao (eds.). Religion and Mobility in a Globalising Asia: New Ethnographic Explorations. London: Routledge.

ประวัติศาสตร์ไทดำ: รากเหง้าวัฒนธรรม-สังคมไทย และเอเชียตะวันออกเฉียงใต้

ยุกติ มุกดาวิจิตร “หนังสือเล่มนี้เป็นผลจากการนั่งอ่านทำความเข้าใจประวัติศาสตร์กลุ่มชาติพันธ์ุหนึ่ง จากมุมมองของพวกเขาเอง จากคำบอกเล่า จากบันทึกของพวกเขาเอง ผมได้แปลเอกสาร 2 ชิ้น ชิ้นหนึ่งเป็นภาษาไทดำ อีกชิ้นหนึ่งเป็นภาษาเวียดนาม แล้วเขียนบทความอธิบายที่มาที่ไปของเอกสารและเนื้อหาของเอกสาร”

คน ข้าว นา ควาย ในวัฒนธรรมเอเชียตะวันออกเฉียงใต้

วันที่ 10 กันยายน 2556 เวลา 08.30-16.30 น. ณ ห้องประชุมประกอบ หุตะสิงห์ ชั้น 3 อาคารเอนกประสงค์ 1 มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ท่าพระจันทร์