livesandflood

กิจกรรมวิชาการ

blog

อาจารย์สาขาสังคมวิทยา

อาจารย์สาขามานุษยวิทยา

วันสถาปนาคณะสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา

ขอเชิญร่วมงานวันคล้ายวันสถาปนาคณะฯ ครบรอบ 49 ปี ร่วมฟังสวดพระปริตร (แบบมอญ) ร่วมโครงการวัฒนธรรมอาหารชาวไทยมุสลิม ชมนิทรรศการภาพถ่าย และเสวนาวิชาการ โดยองค์การนักศึกษาคณะฯ

การประกวดภาพถ่ายประกอบความเรียงชาติพันธุ์นิพนธ์ขนาดสั้น “น้ำ: อาคันตุกะ ผู้ไม่คุ้นเคย?”

โครงการวิจัย “คนกับภัยพิบัติ: กรณีศึกษาชาวจังหวัดปทุมธานีที่ได้รับผลกระทบจากอุทกภัย พ.ศ. 2554” ขอเชิญนักศึกษาคณะสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา ส่งภาพถ่ายประกอบความเรียงชาติพันธุ์นิพนธ์ขนาดสั้น เพื่อเข้าร่วมประกวดเพื่อนำไปจัดแสดงในนิทรรศการ “น้ำ: อาคันตุกะ ผู้ไม่คุ้นเคย?”

ความเห็นหลังการนำเสนอผลงานวิจัยเบื้องต้น โครงการวิจัย “คนกับภัยพิบัติ: กรณีศึกษาชาวจังหวัดปทุมธานีที่ได้รับผลกระทบจากอุทกภัย พ.ศ. 2554”

งานวิจัยชุดนี้ (ที่)ไม่เพียงพรรณนาภาพความเป็นไปของชีวิตผู้คน แต่ยังนำเอาภาพเหล่านั้นมาวิพากษ์มายาคติที่คนทั่วไปมีต่อสังคมไทยได้อย่างแหลมคม ที่น่าคิดต่อไปคือ แล้วนักศึกษาจะสามารถนำวิธีการตั้งข้อสงสัยต่อมายาคติดังกล่าว ไปทำความเข้าใจสภาพแวดล้อมที่ตนเองคุ้นเคยในชีวิตปกติประจำวันของตนเองได้หรือไม่ และจะสามารถมองทะลุมายาคติที่เคยมีต่อตนเอง มายาคติอื่นๆ ที่ตนมีต่อคนอื่น ในทำนองเดียวกับที่พวกเขามีต่อสังคมผู้รับน้ำได้หรือไม่

ผ้าห่มกับชีวิตหลังความตาย

แปลจาก “Blankets for the Afterlife” ใน Bùi, Uy Ngọc. 2008. After the Storm. Natural Disasters and Development in Vietnam. MA thesis, Department of Social Anthropology, University of Bergen. pp. 75-77.

การบรรยาย “บทบาทขององค์การบริหารส่วนตำบลในการจัดการและฟื้นฟูชุมชนหลังเหตุอุทกภัย พ.ศ.2554”

การบรรยายหัวข้อ “บทบาทขององค์การบริหารส่วนตำบลในการจัดการและฟื้นฟูชุมชนหลังเหตุอุทกภัย พ.ศ.2554” โดย นักพัฒนาชุมชน และ ผู้นำอาสาสมัครพัฒนาชุมชน องค์การบริหารส่วนตำบลเชียงรากน้อย

ภาพยนตร์ในชั้นเรียน: The Help ชีวิต-วัตถุของการศึกษา

โครงการวิจัย-ชาติพันธุ์นิพนธ์​ “คนกับภัยพิบัติ: กรณีศึกษาชาวจังหวัดปทุมธานีที่ได้รับผลกระทบจากอุทกภัย พ.ศ.2554” ขอเชิญนักศึกษาร่วมชมภาพยนตร์ในชั้นเรียนเรื่อง The Help พร้อมสนทนาในหัวข้อ “ชีวิต-วัตถุของการศึกษา” วัน-เวลา: วันจันทร์ที่ 30 มกราคม 2555 เวลา 16.30 น.

การบรรยาย “การเก็บข้อมูลภาคสนาม: ทฤษฎีและการปฏิบัติ” โดย ดร. นพ. โกมาตร จึงเสถียรทรัพย์

ดร. นพ. โกมาตร จึงเสถียรทรัพย์ ผู้อำนวยการสำนักวิจัยสังคมและสุขภาพ กระทรวงสาธารณสุข ให้เกียรติมาบรรยายเปิดชั้นเรียนในโครงการวิจัย-ชาติพันธุ์นิพนธ์​ “คนกับภัยพิบัติ: กรณีศึกษาชาวจังหวัดปทุมธานีที่ได้รับผลกระทบจากอุทกภัย พ.ศ.2554”

พื้นที่วิจัยในโครงการวิจัย-ชาติพันธุ์นิพนธ์ “คนกับภัยพิบัติ: กรณีศึกษาชาวจังหวัดปทุมธานีที่ได้รับผลกระทบจากอุทกภัย พ.ศ. 2554”

ตำบลเชียงรากใหญ่ ตำบลเชียงรากน้อย อำเภอสามโคก และ เทศบาลเมืองท่าโขลง อำเภอคลองหลวง จังหวัดปทุมธานี

ประเด็นวิจัยในโครงการวิจัย-ชาติพันธุ์นิพนธ์ “คนกับภัยพิบัติ”

คน ชุมชน สายน้ำ, คนรับน้ำ: ปัญหาความเป็นธรรมและการปรับตัว/ต่อรองของชาวสามโคก กรณีอุทกภัย พ.ศ. 2554, เมือง-การผลิต และชีวิตอุตสาหกรรม, ผู้คน บ้านเรือน และน้ำท่วม

เกี่ยวกับโครงการวิจัย-ชาติพันธุ์นิพนธ์ “คนกับภัยพิบัติ”

โครงการวิจัย-ชาติพันธุ์นิพนธ์ “คนกับภัยพิบัติ: กรณีศึกษาชาวจังหวัดปทุมธานีที่ได้รับผลกระทบจากอุทกภัย พ.ศ. 2554” : วัตถุประสงค์ การสัมมนาเชิงปฏิบัติการ ผลที่คาดว่าจะได้รับ