สถิติประยุกต์: ปฐมบทแห่งการวิจัยทางสังคม
ธีระ สินเดชารักษ์, 2558 || หนังสือที่ได้รับทุนสนับสนุนการเขียนตำรา ประจำปี 2555 จากมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
วารสารสังคมวิทยามานุษยวิทยา ปีที่ 33 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม-ธันวาคม 2557)
ฉบับ “คน กับ งาน” บรรณาธิการโดย นลินี ตันธุวนิตย์
การท่องเที่ยวสร้างสรรค์ : ทิศทางใหม่ของการท่องเที่ยวไทย?
ขอเชิญร่วมโครงการสรวลเสวนาปีการศึกษา 2557 ครั้งที่ 2
วันจันทร์ที่ 15 ก.ย. 57 เวลา 9.30-12.00 น. ณ ห้องบรรยาย
โครงการปริญญาเอก ชั้น 4 อาคารคณะสังคมสงเคราะห์ศาสตร์
มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ท่าพระจันทร์
ประชาสัมพันธ์กิจกรรมมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ เดือนกันยายน 2557
ขอเชิญรับชมปฏิทินโครงการสัมมนา อบรม ประชุมวิชาการ
ประชามติเรื่องเครื่องแบบนักศึกษา
หากทำ poll ในคราบของ referendum ก็จะกลายเป็นว่าผู้จัดทำทึกทัก เหมาคิด ตู่เอาเองหรือเปล่า ว่าคะแนนจากการหยั่งเสียงมีฐานะที่เป็นทางการเสียขนาดนั้น หากไม่มีความยินยอมพร้อมใจต่อการทำประชามติ จะกลายเป็นการที่ผู้มีอำนาจใช้ “การหยั่งเสียง” มาครอบงำตู่เอาว่าเป็นการทำ “ประชามติ” หรือไม่ จะกลายเป็นการใช้เครื่องมือที่ดูเป็นประชาธิปไตย มารับใช้ระบอบอำนาจนิยมหรือไม่
โครงการต้นแบบการท่องเที่ยวเชิงสร้างสรรค์ นำเสนอผลงานวิชาการระดับนานาชาติ
ความร่วมมือทางวิชาการระหว่าง องค์การบริหารการพัฒนาพื้นที่พิเศษเพื่อการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน (องค์การมหาชน) (อพท.) กับคณะสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ เพื่อสนับสนุนรูปแบบใหม่ของการท่องเที่ยว “การท่องเที่ยวเชิงสร้างสรรค์” ให้กับชุมชน
presentation แรงงานนอกระบบ: พร้อมหรือยังกับการเป็นสังคมสูงอายุ
สไลด์และบทคัดย่อจากการนำเสนอผลงานวิจัยในการประชุมวิชาการ “ธรรมศาสตร์วิจัย” เมื่อวันศุกร์ท่ี 27 กรกฎาคม พ.ศ.2555 โดย ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ธีระ สินเดชารักษ์ และ อาจารย์ พรทิพย์ เนติภารัตนกุล
การนำเสนอผลงานของอาจารย์คณะสังคมวิทยาและมานุษยวิทยาในงาน “ธรรมศาสตร์วิจัย 2012”
อาจารย์จากคณะสังคมวิทยาและมานุษยวิทยาร่วมนำเสนอผลงานในการประชุมวิชาการ “ธรรมศาสตร์วิจัย” ประจำปี พ.ศ. 2555
การพัฒนาอุตสาหกรรมของจีน และการปรับตัวของชนบท: บทเรียนสำหรับประเทศไทย
ผู้ประสานงานชุดโครงการ: รองศาสตราจารย์พรชัย ตระกูลวรานนท์
ผู้วิจัย: อาจารย์ ดร.ธีระ สินเดชารักษ์ และ อาจารย์ คมกฤช ธาราวิวัฒน์
ปีที่ทำวิจัย: 2554
บทความ (ภาษาจีน): การพัฒนาอุตสาหกรรมของจีนและการปรับตัวของชนบท
บทความ (ภาษาจีน) “การพัฒนาอุตสาหกรรมของจีนและการปรับตัวของชนบท” โดย อาจารย์ ดร.ธีระ สินเดชารักษ์ และ อาจารย์คมกฤช ธาราวิวัฒน์
ส่วนหนึ่งของโครงการวิจัย “การพัฒนาอุตสาหกรรมและการปรับตัวของชนบท: บทเรียนสำหรับประเทศไทย
กรณีศึกษาเมืองเจิ้งโจวและเมืองลั่วหยาง มณฑลเหอหนาน เมืองซูโจว มณฑลเจียงซู” (2554)