คน ข้าว นา ควาย ในวัฒนธรรมเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
วันที่ 10 กันยายน 2556 เวลา 08.30-16.30 น. ณ ห้องประชุมประกอบ หุตะสิงห์ ชั้น 3 อาคารเอนกประสงค์ 1 มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ท่าพระจันทร์
ประชามติเรื่องเครื่องแบบนักศึกษา
หากทำ poll ในคราบของ referendum ก็จะกลายเป็นว่าผู้จัดทำทึกทัก เหมาคิด ตู่เอาเองหรือเปล่า ว่าคะแนนจากการหยั่งเสียงมีฐานะที่เป็นทางการเสียขนาดนั้น หากไม่มีความยินยอมพร้อมใจต่อการทำประชามติ จะกลายเป็นการที่ผู้มีอำนาจใช้ “การหยั่งเสียง” มาครอบงำตู่เอาว่าเป็นการทำ “ประชามติ” หรือไม่ จะกลายเป็นการใช้เครื่องมือที่ดูเป็นประชาธิปไตย มารับใช้ระบอบอำนาจนิยมหรือไม่
คน ค้น คน: จริยธรรมในการทำงานทางมานุษยวิทยา
ศูนย์ศึกษาสังคมและวัฒนธรรมร่วมสมัย และ สมาคมนักสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา ขอเชิญร่วมงานเสวนาวิชาการ ในวันพุธที่ 19 มิถุนายน 2556 เวลา 12.30-16.30 น. ณ ห้องคึกฤทธิ์ ปราโมช ชั้น 9 อาคารเอนกประสงค์ 1
นโยบายกลุ่มชาติพันธ์ุ / ชนเผ่าพื้นเมือง
บันทึกประกอบการบรรยายในการนำเสนอต่อที่ประชุมแผนแม่บทการพัฒนากลุุ่มชาติพันธ์ุและชนเผ่าพื้นเมือง กระทรวงพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ เมื่อวันที่ 27 พฤษภาคม 2556
สู่สันติภาพในอุษาคเนย์?
บันทึกจากงานสัมมนาวิชาการ “สู่สันติภาพในอุษาคเนย์?: กระบวนการสันติภาพในพม่า มาเลเซีย และจังหวัดชายแดนไทยภาคใต้” วันจันทร์ที่ 29 เมษายน 2556
สู่สันติภาพในอุษาคเนย์?: กระบวนการสันติภาพในพม่า มาเลเซีย และจังหวัดชายแดนไทยภาคใต้
จัดโดย ศูนย์ศึกษาสังคมและวัฒนธรรมร่วมสมัย คณะสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา และ ศูนย์เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ศึกษา สถาบันเอเชียตะวันออกศึกษา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
วิธีวิทยารื้อสร้างอัตลักษณ์
หนังสือในโครงการ “ตัวตนคนยองกับท้องถิ่นล้านนา: สื่อกับการเมืองอัตลักษณ์ในยุคโลกาภิวัตน์”
มานุษยวิทยา-สังคมวิทยา-ไทยศึกษาเพื่อใคร
ยุกติ มุกดาวิจิตร: “นักมานุษยวิทยาแต่ละคนมีจุดยืนแตกต่างกันไป แต่สำหรับผม มานุษยวิทยาต้องนำมุมมองจากคนสามัญ มาวิจารณ์มุมมองของผู้มีอำนาจ”
สุนทรียศาสตร์และการเมืองของสิ่งไร้รสนิยม
บันทึกจากการเสวนา “จาก Gangnam Style กลายมาเป็นกำนันสไตล์” 26 กันยายน 2555 คณะสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา ธรรมศาสตร์ รังสิต
เพื่อนบ้านศึกษา: อาณาบริเวณศึกษาแบบใหม่
บทความโดย ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ยุกติ มุกดาวิจิตร ในการประชุมวิชาการอาณาบริเวณศึกษาด้านภูมิภาคอาเซียน ครั้งที่ 2 ประจำปี พ.ศ.2555